TKP Start UP

ประวัติศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา

อุทกภัย



น้ำท่วม (อุทกภัย) เป็นการไหลล้นของห้วงน้ำซึ่งทำให้แผ่นดินจมอยู่ใต้น้ำ คำว่า "น้ำเอ่อล้น" (flowing water) ยังอาจใช้กับการไหลเข้าของกระแสน้ำ น้ำท่วมอาจเป็นผลของปริมาตรน้ำภายในแหล่งน้ำ เช่น แม่น้ำหรือทะเลสาบ ซึ่งไหลล้นหรือทลายคันดิน เป็นผลให้น้ำบางส่วนออกจากขอบเขตตามปกติของมัน

เรียนรู้เพิ่มเติม

สึนามิ


กลุ่มของคลื่นขนาดใหญ่ที่สร้างความเสียหายรุนแรงต่อพื้นที่ บริเวณชายฝั่ง และอาจเกิดขึ้นได้โดยไม่มีสิ่งบอกเหตุล่วงหน้า

เรียนรู้เพิ่มเติม

ไฟป่า



ไฟป่า เป็นพิบัติภัยอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นไม่เฉพาะในประทศไทยแต่เกิดขึ้นในทุกภูมิภาคทั่วโลกที่เป็นปัญหาเรื้อรังมานานและทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ในทุกปี เมื่อเกิดไฟป่าขึ้นที่ใดก็จะส่งผลกระทบและสร้างความ เสียหายแก่ทรัพยากรธรรมชาติของป่า และสิ่งแวดล้อมอย่างมาก ยิ่งกว่าสาเหตุอื่น ๆ เพราะไฟป่าสามารถลุกลามไหม้ทำลายพื้นที่จำนวนมากได้ในเวลาอันรวดเร็ว

เรียนรู้เพิ่มเติม

แผ่นดินไหว



แผ่นดินไหว เป็นปรากฏการณ์สั่นสะเทือนหรือเขย่าของพื้นผิวโลก เพื่อปรับตัวให้อยู่ในสภาวะสมดุล ซึ่งแผ่นดินไหวสามารถก่อให้เกิดความเสียหายและภัยพิบัติต่อบ้านเมือง สิ่งมีชีวิต ส่วนสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวนั้นส่วนใหญ่เกิดจากธรรมชาติ โดยแผ่นดินไหวบางลักษณะสามารถเกิดจากการกระทำของมนุษย์ได้ แต่มีความรุนแรงน้อยกว่าที่เกิดขึ้นเองจากธรรมชาติ

ศึกษาเพิ่มเติม

วาตภัย



วาตภัยหมายถึง ภัยที่เกิดขึ้นจากพายุลมแรง จนทำให้เกิดความเสียหายแก่อาคารบ้านเรือน ต้นไม้ และสิ่งก่อสร้าง สำหรับในประเทศไทยวาตภัยหรือพายุลมแรงมีสาเหตุมาจากปรากฎการณ์ทางธรรรมชาติ 

ศึกษาเพิ่มเติม

ดินโคลนถล่ม



ดินถล่ม (Landslide or Mass movement) คือการเคลื่อนที่ของมวลดิน หรือหิน ลงมาตามลาดเขาด้วยอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงของโลก โดยปรกติ ดินถล่มที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ส่วนใหญ่ “ น้ำ ” จะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดดินถล่มเสมอ โดยน้ำจะเป็นตัวลดแรงต้านทานในการเคลื่อนตัวของมวลดินหรือหิน และน้ำจะเป็นตัวที่ทำให้คุณสมบัติของดินที่เป็นของแข็งเปลี่ยนไปเป็นของไหลได้
ศึกษาเพิ่มเติม

ภัยแล้งคืออะไร



ภัยแล้ง คือ ภัยที่เกิดจากการขาดแคลนน้ำในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเป็นเวลานาน จนก่อให้เกิดความแห้งแล้ง และส่งผลกระทบต่อชุมชน 2. สาเหตุของการเกิดภัยแล้งมีอะไรบ้าง สำหรับภัยแล้งในประเทศไทย ส่วนใหญ่เกิดจากฝนแล้งและทิ้งช่วง ซึ่งฝนแล้งเป็นภาวะปริมาณฝนตกน้อยกว่าปกติหรือฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล

ศึกษาเพิ่มเติม

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครราชสีมา


ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครราชสีมา จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม2537 อนุมัติให้กรมการศึกษานอกโรงเรียน จัดตั้งศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาขึ้น 12 จังหวัด  และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องจัดตั้งศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา จังหวัดสมุทรสาคร ขอนแก่น นครราชสีมา อุบลราชธานี นครสวรรค์ ลำปาง และ สระแก้ว
เรียนรู้เพิ่มเติม

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษารังสิต



ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษารังสิต เป็นสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย (สำนักงาน กศน.) กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2537

เรียนรู้เพิ่มเติม

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ท้องฟ้าจำลอง กรุงเทพ



ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ ในลักษณะ "เรียนให้สนุกและเล่นให้เกิดความรู้" หลากหลายรูปแบบเช่น การแสดงท้องฟ้าจำลอง การแสดงทางวิทยาศาสตร์ อาทิ ไดโนเสาร์ในยุคดึกดำบรรพ์ สิ่งแวดล้อม ธรรมชาติ ภูมิศาสตร์ สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ กิจกรรมการเรียนผ่านนิทรรศการ การบรรยายสาธิต

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา เปลี่ยนชื่อสังกัด จากสำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน เป็น สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีพื้นที่ทั้งหมด 38 ไร่ 86 ตารางวา

อ่านเพิ่มเติม